Dr. Sarawut Phupaichitkun


ศราวุธ

อาจารย์ ดร. ศราวุธ ภู่ไพจิตร์กุล

  • Dr.Agr.Sc. (Agricultural Science) Hohenheim University, Germany (2008)
  • วศ.ม. (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2542)
  • วท.บ. (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2536)

สาขาที่เชี่ยวชาญ

  • Process modeling simulation and control
  • Drying technology
  • Near infrared spectroscopy for  polymer industrial application and materials

E-mail, เบอร์ติดต่อ

034-270510-2 ext. 209712

ผลงานทางวิชาการ

บทความ: Google Scholar 

วารสารวิชาการ

  1. Prukwarun, W., Khumchoo, W., Seancotr, W., and Phupaichitkun, S. (2013). “CFD simulation of fixed bed dryer by using porous media concepts: Unpeeled longan case” International Journal of Agricultural and Biological Engineering 6(1), (March 2013): 100-110.

Proceedings

  1. Srisirirat, C.,  Khuwijitjaru, P., Phupaichitkun, S., and Mahayothee, B. (2021). “Rapid assessment of water activity, moisture content, and total soluble solids in dried fruits and vegetables using near-infrared spectroscopy”, Silpakorn International Conference on Total Art and Science 2021 in conjunction with the 2nd International Conference on Engineering and Industrial Technology 2021 (ICEIT 2021) The International Virtual Conference on Art, Science & Technology, and Social Science, Online Conference Thailand (November 3-5): 23-29.
  2. Moolsri, W., and Phupaichitkun, S. (2020). “Using portable type and conveyor belt system type VIS-NIR spectrometer to predict the CIE L*a*b* color value” The Pure and Applied Chemistry International Conference 2020 (PACCON2020), IMPACT Forum, Muangthong Thani, Nonthaburi, (February 13-14): PC224 – PC229.
  3. ทรงยศ บุญคง, จิรวัฒน์ อินทจักร และ ศราวุธ ภู่ไพจิตร์กุล (2562). “การโอนย้ายแบบจำลองในการหาปริมาณและชนิดของพอลิเมอร์ผสมด้วยเทคนิค FTIR” การประชุมการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 48 ร่วมกับโครงการประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9 และการประชุมวิชาการ “ศิลปากรวิจัย” ครั้งที่ 11 เรื่อง “นวัตกรรมและการสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”, ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพรรษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม (13-14 มิถุนายน): P122-P128.
  4. Intajak, J., and Phupaichitkun, S. (2017). “Plastic Type Discrimination using SWNIR.” The 3rd International Conference on Applied Physics and Materials Applications (ICAPMA2017), Pattaya, Thailand, (May 31 – June 2): 39-43.
  5. Prukwarun, W., and Phupaichitkun, S. (2013). “Effect of Cell Structure and Porosity on Viscous Loss and Inertial Loss Coefficientin CFD Simulation” Pure and Applied Chemistry International Conference 2013 (PACCON), Bangsaen Beach, Thailand, (January 23-25): 692-696.
  6. เอลียาห์ เลิศกุศล, วิกานต์ดา สุวรรณพร, ศราวุธ ภู่ไพจิตร์กุล และ บุศรากรณ์ มหาโยธี (2556). “การประยุกต์ใช้เทคนิค Hyperspcetral Imaging ในการตรวจสอบปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายได้และปริมาณกรดทั้งหมดที่ไตเตรตได้ของสับปะรด” การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ปี 2556, คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์, นครปฐม, (2-3 ธันวาคม): 174-183.
  7. Sangmanee, C., and Phupaichitkun, S. (2012). “Effects of Viscosity Model on Flow Pattern of Polymer Melt on Ansys Software” The 6th Pure and Applied Chemistry International Conference (PACCON 2012), Chiang Mai, Thailand, (January 11-13): 370-373.
  8. Towangjohn, N., and Phupaichitkun, S. (2012). “Fracture Surface Simulation of Composites Using Ansys Program” The 6th Pure and Applied Chemistry International Conference (PACCON 2012), Chiang Mai, Thailand, (January 11-13): 402-405.
  9. สุดใจ โรจนะ,  กาญจนา สุภาผล, วรรัตน์ ปัตรประกร และ ศราวุธ ภู่ไพจิตร์กุล (2555). “การใช้เทคนิค FT-IR ศึกษาหมู่ฟังก์ชันของน้ำมันที่เกิดจากการไพโรไลซิสถุงพลาสติกพอลิโพรพิลีนที่ผสมสิ่งปนเปื้อน” ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 5 “บูรณาการศาสตร์และศิลป์”, (25-27 มกราคม).

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

  1. ศราวุธ ภู่ไพจิตร์กุล และ บุศรากรณ์ มหาโยธี. (2558). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “การพัฒนาระบบอุปกรณ์วัดคุณภาพอาหารด้วยคลื่นแสงจำเพาะในช่วงอินฟาเรดในย่านใกล้สำหรับโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร” นครปฐม, แหล่งทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 2556. 90 หน้า.
  2. ปราโมทย์ คูวิจิตรจารุ, ชัยยงค์ เตชะไพโรจน์, และ ศราวุธ ภู่ไพจิตร์กุล (2559). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “การตรวจจับอันตรายทางกายภาพและตรวจวัดคุณภาพโดยใช้สเปกโทรสโกปีอินฟราเรดย่านใกล้เพื่อคัดแยกเมล็ดกาแฟดิบ” นครปฐม, แหล่งทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 2558. 62 หน้า.